NB CLASSROOM ศูนย์การเรียนรู้ที่ใช้รูปแบบของการวิเคราะห์ ฝึกฝน จดจำ ทำด้วยตัวเอง
คณิตศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

- การอ่านและเขียนจำนวนนับที่มากกว่า 100,000 แต่ไม่เกิน 1,000,0000
- การอ่านและเขียนจำนวนนับที่มากกว่า 1,000,000
- หลัก ค่าประจำหลักและการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ
- ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มสิบ
- ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มร้อย
- ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มพัน
- ค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มหมื่น จำนวนเต็มแสน จำนวนเต็มล้าน
- การนำค่าประมาณไปใช้
- การบวกจำนวนนับ โดยการตั้งบวก
- การลบจำนวนนับ โดยการตั้งลบ
- การหาผลบวก ผลลบ โดยใช้ค่าประมาณ
- การคำนวณโดยใช้เครื่องคิดเลข
- การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าจากประโยคสัญลักษณ์การลบ
- การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าจากประโยคสัญลักษณ์การบวก
- การวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ อย่างง่าย
- การวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ ที่มีคำว่า “มากกว่า” ซึ่งอาจจะใช้วิธีการบวก หรือ วิธีการลบ
- การวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ ที่มีคำว่า “น้อยกว่า” ซึ่งอาจจะใช้วิธีการบวก หรือ วิธีการลบ
- การวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ
- การแสดงวิธีทำ โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ
- การสร้างโจทย์ปัญหาจากประโยคสัญลักษณ์
- การสร้างโจทย์ปัญหาจากภาพ
- การคูณจำนวน 1 หลัก กับจำนวนมากกว่า 4 หลัก
- การคูณจำนวน 2 หลัก กับจำนวนมากกว่า 2 หลัก
- การคูณจำนวนนับกับพหุคูณของ 100 1,000 หรือ 10,000
- การคูณจำนวนมากกว่า 2 หลัก กับจำนวนมากกว่า 2 หลัก
- การหาผลคูณ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของผลคูณที่ได้
- การหารที่ตัวตั้งมีมากกว่า 4 หลัก และตัวหารมี 1 หลัก ด้วยการหารยาว
- การหารที่ตัวตั้งมีมากกว่า 4 หลัก และตัวหารมี 1 หลัก ด้วยการหารสั้น
- การหารที่ตัวหารมี 2 หลัก และเป็นพหุคูณของ 10 ด้วยการหารยาว
- การหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหารมี 2 หลัก ด้วยการหารยาว
- การหารที่ตัวตั้งมากกว่า 4 หลัก ตัวหารมี 2 หลัก ด้วยการหารยาว
- การหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหารมี 3 หลัก ด้วยการหารยาว
- การหารที่ตัวตั้งมากกว่า 4 หลัก ตัวหารมี 3 หลัก ด้วยการหารยาว
- ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณกับการหาร
- การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การคูณ
- การหาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์การหาร
- การหาผลคูณที่ใกล้เคียงกับจำนวนที่กำหนดให้
- แบบรูปของการคูณและการหาร
- การวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหาร
- การแสดงวิธีทำ โจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหาร
- การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ และโจทย์ปัญหาการหาร
- การบวก ลบ คูณ หารแบบมีวงเล็บ (3 จำนวน)
- การบวก ลบ คูณ หารแบบมีวงเล็บ (มากกว่า 3 จำนวน)
- การบวก ลบ ไม่มีวงเล็บ
- การคูณ หาร ไม่มีวงเล็บ
- การบวก ลบ คูณ หาร ไม่มีวงเล็บ (3 จำนวน)
- การบวก ลบ คูณ หาร ไม่มีวงเล็บ (มากกว่า 3 จำนวน)
- การบวก ลบ คูณ หารระคนแบบที่มีและไม่มีวงเล็บ
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (ตอนที่ 1)
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (ตอนที่ 2)
- การแสดงวิธีทำ โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
- การสร้างโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน จากประโยคสัญลักษณ์
- การสร้างโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน จากภาพ
- การหาค่าเฉลี่ยจากสถานการณ์ที่กำหนด
- การแสดงวิธีหาคำตอบโจทย์ปัญหาที่เกี่ยวกับค่าเฉลี่ย
- การบอกระยะเวลาเป็นนาที วินาที
- การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน
- การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี
- การเปรียบเทียบระยะเวลา
- การอ่านตารางเรียน/ตารางแข่งขัน
- การอ่านตารางเวลาในชีวิตประจำวัน
- วิเคราะห์และหาคำตอบโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
- แสดงวิธีทำ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
คณิตศาสตร์ ป.4 เล่ม 2

- ความหมาย การอ่านและการเขียนเศษส่วน
- เศษส่วนที่เท่ากับ 1
- เศษส่วนที่เท่ากับจำนวนนับ
- เศษส่วนแท้ เศษเกิน
- จำนวนคละ
- การเขียนจำนวนคละในรูปเศษเกินและการเขียนเศษเกินในรูปจำนวนคละ
- การทำเศษส่วนให้เท่ากับเศษส่วนที่กำหนดด้วยการคูณ
- การทำเศษส่วนให้เท่ากับเศษส่วนที่กำหนดด้วยการหาร
- เศษส่วนอย่างต่ำ
- การเปรียบเทียบเศษส่วน
- การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ
- การเรียงลำดับเศษส่วน จำนวนคละ
- การบวกเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่เท่ากันโดยตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง
- การลบเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่เท่ากันโดยตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง
- การบวก การลบเศษส่วน จำนวนคละ
- โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
- โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง
- โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน จำนวนคละ
- การอ่านและการเขียนทศนิยม 1 ตำแหน่งแสดงปริมาณของสิ่งต่างๆ
- การอ่านและการเขียนทศนิยม 2 ตำแหน่งแสดงปริมาณของสิ่งต่างๆ
- การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งแสดงปริมาณของสิ่งต่างๆ
- หลัก ค่าประจำหลัก และการเขียนทศนิยมในรูปกระจาย
- การเปรียบเทียบทศนิยม และใช้เครื่องหมาย < หรือ > แสดงการเปรียบเทียบ การเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
- การบวกทศนิยมไม่เกิน 2 ตำแหน่งที่ไม่มีการทด
- การบวกทศนิยมไม่เกิน 2 ตำแหน่งที่มีการทด
- การบวกทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
- การลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งที่ไม่มีการกระจาย
- การลบทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งที่มีการกระจาย
- การบวก ลบระคนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง (1 ขั้นตอน)
- การแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง (2 ขั้นตอน)
- การแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง
- ระนาบ จุด และการใช้จุดแสดงตำแหน่ง
- เส้นตรง รังสี และส่วนของเส้นตรง
- มุม ส่วนประกอบของมุม การเรียกชื่อมุมและการใช้สัญลักษณ์แทนมุม
- มุมฉาก และมุมตรง
- มุมแหลม มุมป้าน และมุมกลับ
- การวัดขนาดของมุมแหลม มุมฉาก มุมป้านและมุมตรง
- การวัดขนาดของมุมกลับ
- การสร้างมุม โดยใช้โพรแทรกเตอร์
- ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม
- การสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
- การหาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- การหาความยาวรอบรูปของรูปหลายเหลี่ยมที่สามารถแบ่งหรือต่อเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- การหาพื้นที่โดยการนับตาราง
- การหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตโดยการนับตารางเป็นตารางเซนติเมตร ตารางเมตร ตารางวา
- การหาพื้นที่โดยประมาณ ใช้การนับตารางของรูปที่ไม่เต็มตารางหน่วย
- การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยใช้สูตร
- การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยใช้สูตร
- การหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมที่สามารถแบ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
- โจทย์การหาพื้นที่และความยาวรอบรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
- การเก็บรวบรวมข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง 2 ทาง
- การใช้ข้อมูลจากตาราง 2 ทางในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
- การอ่านแผนภูมิแท่ง
- การใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
- การเขียนแผนภูมิแท่ง
วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

- เรื่องที่ 1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
- กิจกรรมที่ 1 ถั่วเต้นระบำได้อย่างไร
- เรื่องที่ 2 การวัดและการใช้จำนวนของนักวิทยาศาสตร์
- กิจกรรมที่ 2.1 การวัดทำได้อย่างไร
- กิจกรรมที่ 2.2 การใช้จำนวนทำได้อย่างไร
- เรื่องที่ 3 การทดลองของนักวิทยาศาสตร์
- กิจกรรมที่ 3 การทดลองทำได้อย่างไร
- เรื่องที่ 1 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
- กิจกรรมที่ 1.1 เราจำแนกสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.2 เราจำแนกสัตว์ได้อย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.3 เราจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.4 เราจำแนกพืชได้อย่างไร
- เรื่องที่ 1 หน้าที่ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอก
- กิจกรรมที่ 1.1 รากและลำต้นของพืชทำหน้าที่อะไร
- กิจกรรมที่ 1.2 ใบของพืชทำหน้าที่อะไร
- กิจกรรมที่ 1.3 ดอกของพืชทำหน้าที่อะไร
- เรื่องที่ 1 มวลและแรงโน้มถ่วงของโลก
- กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุเคลื่อนที่อย่างไรเมื่อถูกปล่อยจากมือ
- กิจกรรมที่ 1.2 มวลและน้ำหนักสัมพันธ์กันอย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.3 มวลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างไร
- เรื่องที่ 1 ตัวกลางของแสง
- กิจกรรมที่ 1 ลักษณะการมองเห็นต่างกันอย่างไรเมื่อมีวัตถุมากั้นแสง
วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 2

- เรื่องที่ 1 ความแข็งของวัสดุ
- กิจกรรมที่ 1 วัสดุแต่ละชนิดมีความแข็งเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 2 สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ
- กิจกรรมที่ 2 วัสดุแต่ละชนิดมีสภาพยืดหยุ่นเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 3 การนำความร้อนของวัสดุ
- กิจกรรมที่ 3 วัสดุแต่ละชนิดมีการนำความร้อนเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 4 การนำไฟฟ้าของวัสดุ
- กิจกรรมที่ 4 วัสดุแต่ละชนิดมีการนำไฟฟ้าเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 1 ของแข็ง
- กิจกรรมที่ 1.1 ของแข็งมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่ และมีรูปร่างอย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.2 ของแข็งมีปริมาตรเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 2 ของเหลว
- กิจกรรมที่ 2.1 ของเหลวมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่
- กิจกรรมที่ 2.2 ของเหลวมีปริมาตร รูปร่างและระดับผิวหน้าเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 3 แก๊ส
- กิจกรรมที่ 3.1 แก๊สมีมวลและต้องการที่อยู่หรือไม่
- กิจกรรมที่ 3.2 แก๊สมีปริมาตรและรูปร่างเป็นอย่างไร
- เรื่องที่ 1 การขึ้นและตกและรูปร่างของดวงจันทร์
- กิจกรรมที่ 1.1 ดวงจันทร์มีการขึ้นและตกหรือไม่ อย่างไร
- กิจกรรมที่ 1.2 ในแต่ละวันมองเห็นดวงจันทร์มีรูปร่างอย่างไร
- เรื่องที่ 1 ระบบสุริยะ
- กิจกรรมที่ 1 ระบบสุริยะมีลักษณะอย่างไร

ประถมศึกษา
